|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
|
taxman : ปทุมธานี
= ประธานคลับ . . . โอมเหม่ง =
ประธานคลับ
อาจารย์ปู่
ออฟไลน์
เพศ:
กระทู้: 23,937
Work hard, Play hard
|
|
« ตอบ #3662 เมื่อ: 20 มีนาคม 2009, 14:39:53 » |
|
:'( :'( :'( :'( :'( แต่อันนี้ ยัง 0% ใช่มั๊ย There is 0% inheritance tax for all family members in Thailand ภาษีมรดก 0 เปอร์เซนต์เนี๊ยะนะ รับไม่ได้ๆๆๆๆๆๆ ไม่ถามเระ ปวดหัว พี่โอมมีเวบไซต์ ที่บอกเกี่ยวกับภาษี Property มั้ยคะ (Eng Ver. ก็ดี ไทยก็ได้ *-*) เดี๋ยวไปอ่านเอง เอาอัพเดทๆน๊า เข้าไปที่ 1. www.rd.go.th 2. มองที่มุมขวานะครับ จะเห็นคำว่า English แล้ว click 3. จากนั้นให้มองที่ Revenue code ครับ เป็นประมวลรัษฎากรฉบับภาษาอังกฤษ แต่..... กฎหมายฉบับภาษาอังกฤษนี้ ก็ใช่ว่าจะ reference ได้ 100% นะครับ เพราะยังไงๆ เราก็ยังต้องอิงกับประมวลกฎหมายฉบับภาษาไทยอยู่ครับ
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
|
taxman : ปทุมธานี
= ประธานคลับ . . . โอมเหม่ง =
ประธานคลับ
อาจารย์ปู่
ออฟไลน์
เพศ:
กระทู้: 23,937
Work hard, Play hard
|
|
« ตอบ #3664 เมื่อ: 20 มีนาคม 2009, 16:21:36 » |
|
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
|
|
|
pat_meaw
++ เจ๊แมว เหมียวหง่าว ++
ผู้คุมกฎ
อาจารย์ปู่
ออฟไลน์
กระทู้: 8,579
ใครมาแก้ฉายาตรูฟ่ะ!!
|
|
« ตอบ #3668 เมื่อ: 20 มีนาคม 2009, 16:37:06 » |
|
สรุปได้เระพี่โอมขรา เวบสรรพากร อ่านง่ายมากเลยค่า (แต่เข้าใจยาก) :'( - Stamp duty of 0.5% and transfer fees of 0.01% have, for now, been waived for the short term as the government entices buyers to the market. - Business tax of 0.1% (levied against a vendor who has been in registered possession of the property less than 5 years) is also charged, along with income tax (similar to capital gains tax) at a variable rate. - There is no Capital Gains Tax in Thailand, unlike many other countries. - Income Tax is usually between 1% and 3% on property and is the comparable replacement to capital gains tax. - Structures Usage Tax : This only applies to commercially used properties. The rate is 12.5% on the actual or assessed gross rental value of the property. However, this notional value is well below the commercial market rental value. If the property is purchased through a company, you need to remember that corporate tax is higher than personal tax, and the cost of setting up the company must be considered as part of the initial investment. - Tax on Rental Income is charged at between 10% and 30% of the rental income, depending on the type of property leased. - Inheritance Tax is 0% for all family members in Thailand. จะรอดมั๊ยเนี่ยะ..
|
|
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 20 มีนาคม 2009, 16:38:59 โดย patch_meaw »
|
บันทึกการเข้า
|
คิดถึงฉันบ้างรึเปล่า.. ....อย่างที่ใจฉันคอยคิดถึงเธอทุกวัน
|
|
|
|
|
taxman : ปทุมธานี
= ประธานคลับ . . . โอมเหม่ง =
ประธานคลับ
อาจารย์ปู่
ออฟไลน์
เพศ:
กระทู้: 23,937
Work hard, Play hard
|
|
« ตอบ #3671 เมื่อ: 20 มีนาคม 2009, 17:00:21 » |
|
สรุปได้เระพี่โอมขรา เวบสรรพากร อ่านง่ายมากเลยค่า (แต่เข้าใจยาก) :'( - Stamp duty of 0.5% and transfer fees of 0.01% have, for now, been waived for the short term as the government entices buyers to the market. - Business tax of 0.1% (levied against a vendor who has been in registered possession of the property less than 5 years) is also charged, along with income tax (similar to capital gains tax) at a variable rate. - There is no Capital Gains Tax in Thailand, unlike many other countries. - Income Tax is usually between 1% and 3% on property and is the comparable replacement to capital gains tax. - Structures Usage Tax : This only applies to commercially used properties. The rate is 12.5% on the actual or assessed gross rental value of the property. However, this notional value is well below the commercial market rental value. If the property is purchased through a company, you need to remember that corporate tax is higher than personal tax, and the cost of setting up the company must be considered as part of the initial investment. - Tax on Rental Income is charged at between 10% and 30% of the rental income, depending on the type of property leased. - Inheritance Tax is 0% for all family members in Thailand. จะรอดมั๊ยเนี่ยะ.. :'( :'( :'( เป็นข้อเสนอที่น่ากลัวที่สุดเลย
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
|
|
taxman : ปทุมธานี
= ประธานคลับ . . . โอมเหม่ง =
ประธานคลับ
อาจารย์ปู่
ออฟไลน์
เพศ:
กระทู้: 23,937
Work hard, Play hard
|
|
« ตอบ #3674 เมื่อ: 20 มีนาคม 2009, 22:43:17 » |
|
วันนี้กินบีทาเก้นแค่ขวดเดียว
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
|
s_kungten
Gold Member
อาจารย์ปู่
ออฟไลน์
เพศ:
กระทู้: 15,858
^ ^ กุ๊งกิ๊ง^ ^
|
|
« ตอบ #3676 เมื่อ: 21 มีนาคม 2009, 09:48:16 » |
|
พี่โอมขรา...ขอถามมั่ง...
ผลประโยชน์ที่ได้รับจากกองทุนสำรองเลี้ยงชีพเนื่องจากลาออกจากงาน (ไม่เกี่ยวกับในส่วนของบริษัทนะคะ) คิอว่าในเคสของนู๋ นู๋ทำงานไม่ถึง 3 ปีพอดี จะไม่ได้ส่วนที่บริษัทสมทบให้เลย (ขาดไป 20 วันเอง ) แต่ว่าก็จะได้เงินผลประโชนย์จากเงินสะสมที่เราส่งไป
คำถามค่ะ: อยากทราบว่า เงินผลประโยชน์ตรงนี้ต้องนำมารวมคำนวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา โดยให้วิธีกการหักค่าใช่จ่าย เดียวกับเงินเดีอน คือ 40% ไม่เกิน 60,000 บาท เนื่องจากเป็นรายได้ 40 (1) เหมือนกันใช่หริอไม่คะ
ที่สงสัยเพราะว่า ได้ยินพี่ๆ HR บอกว่า มีวิธีการหักค่าใช้จ่ายอีกแบบที่ไม่ใช่ 40% ไม่เกิน 60,000 บาท แล้วแต่ปีที่ได้สะสมเงินกองทุน (เห็นว่าต้องส่ง 5 ปีขึ้นไป) นู๋ก็เลยงงว่า ถ้าส่งไม่เกิน 3 ปี ตกลงต้องหักแบบไหน เพราะไปหาในประมวลแล้วยังหาไม่เจออ่ะค่ะ เจอแต่เรื่องเงินได้ยกเว้นกองทุนสำรองเลี้ยงชีพแบบปกติอ่า
แล้วมีพี่อีกคนบอกว่า เราจะเอาเงินผลประโยชน์ที่ได้รับจากกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ ไปยื่นร่วม หรือยืนแยกก็ได้ (มีแยกยื่นด้วยเหรอคะ) หรือจะไม่เอามายื่นเลยก็ได้ (อันนี้ไม่น่าจะเป็นไปได้ เพราะยังไม่เห็นข้อยกเว้นเลยอ่ะค่ะ)
Could you please advise? I'll submit P.N.D 91 to Revenue department on next Monday.
Thank you in advance ka...
|
|
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: 22 มีนาคม 2009, 00:26:50 โดย s_kungten »
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
|
s_kungten
Gold Member
อาจารย์ปู่
ออฟไลน์
เพศ:
กระทู้: 15,858
^ ^ กุ๊งกิ๊ง^ ^
|
|
« ตอบ #3678 เมื่อ: 21 มีนาคม 2009, 10:05:56 » |
|
นั่นจิคะพี่แมวเหมียว....ภาษาภาษี ภาษามาตรฐานบัญชี ภาษากฏหมาย.... อ่านแล้วตายไปเลยยย
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
|